นางอัญชลี ชวนิชย์

กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ / กรรมการกำกับดูแลกิจการและความยั่งยืน

วันที่เข้าดำรงตำแหน่งกรรมการอิสระครั้งแรกหลังจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
  • 19 กรกฎาคม 2560
วาระการดำรงตำแหน่งกรรมการอิสระหลังจากจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
  • 6 ปี 5 เดือน
ประวัติการศึกษา
  • ปริญญาโท Master of Science (Engineering Management), University of Missouri-Rolla ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (อุตสาหการ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประวัติการอบรมหลักสูตรกรรมการของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
  • หลักสูตร The Board's Role in Mergers and Acquisition (BMA) รุ่น 5/2566
  • หลักสูตร Joint Venture Governance (RFP) รุ่น 11/2566
  • หลักสูตร Subsidiary Governance Program (SGP) รุ่น 2/2565
  • หลักสูตร Risk Management for Corporate Leaders (RCL) รุ่น 24/2564
  • หลักสูตร Ethical Leadership Program (ELP) รุ่น 23/2564
  • หลักสูตร Refreshment Training Program (RFP) รุ่น 2/2564 Leading Your Business through Uncertainties
  • หลักสูตร Refreshment Training Program (RFP) รุ่น 3/2564 Lessons Learnt from Financial Cases: How Board should React
  • หลักสูตร Role of the Chairman Program (RCP) รุ่น 13/2549
  • หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) รุ่น 1/2547
  • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่น 45/2547
  • หลักสูตร Finance for Non-Finance Directors (FND) รุ่น 10/2547
ประวัติการอบรมอื่น ๆ
  • หลักสูตร การปรับตัวของธุรกิจเพื่อรองรับการขับเคลื่อนเข้าสู่ยุคเศรษฐกิจดิจิทัล (หลักสูตรอบรมภายใน) ปี 2563
  • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 3/2557 สถาบันวิทยาการพลังงาน
  • หลักสูตรหลักนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย (นธป.) รุ่นที่ 2/2557 วิทยาลัยรัฐธรรมนูญ สถาบันรัฐธรรมนูญศึกษา สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ
  • หลักสูตรการบริหารจัดการด้านความมั่นคงขั้นสูง รุ่นที่ 3/2555 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
  • หลักสูตรนักบริหารการยุติธรรมทางปกครองระดับสูง (บยป.) รุ่นที่ 4/2555 วิทยาลัยยุติธรรมทางปกครอง สำนักงานศาลปกครอง
  • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงสถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุ่นที่ 7/2551 สถาบันวิทยาการตลาดทุน
  • หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สำหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นที่ 6 สถาบันพระปกเกล้า ปี 2545
  • หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปริญญาบัตร ปรอ.) รุ่นที่ 11 วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ปี 2541
ตำแหน่งในบริษัทและบริษัทย่อย
  • 2561 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการกำกับดูแลกิจการและความยั่งยืน บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
  • 2559 - 2561 กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
ตำแหน่งในบริษัทจดทะเบียนอื่น
  • 2563 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการบรรษัทภิบาลและการพัฒนาอย่างยั่งยืน บริษัท ดับบลิวเอชเอ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
  • 2561 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท อีโนเว รับเบอร์ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
ตำแหน่งในองค์กร / กิจการอื่น (จำนวน 3 แห่ง)
  • 2565 - ปัจจุบัน กรรมการ (กรรมการที่ไม่มีส่วนร่วมในการบริหาร) บริษัท ดับบลิวเอชเอ อินดัสเตรียล ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)
  • 2554 - ปัจจุบัน นายกสมาคมนิคมอุตสาหกรรมไทยและพันธมิตร
  • 2543 - ปัจจุบัน ประธานมูลนิธิเพื่อการอนุรักษ์ - ฟื้นฟูปะการังและชายหาด
ประวัติการทำงานในช่วงระยะเวลา 5 ปี ย้อนหลัง
  • 2565 - 2566 ประธานคณะทำงานศึกษาแนวทางและระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในเส้นท่อส่งน้ำสายหลักของพื้นที่ภาคตะวันออก สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ
  • 2563 - 2566 รองประธานกรรมการ มูลนิธิวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
  • 2563 - 2564 อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการบริหารจัดการน้ำในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
  • 2562 - 2565 ที่ปรึกษาประจำคณะกรรมาธิการพลังงาน สภาผู้แทนราษฎร
  • 2561 - 2565 กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • 2560 - 2566 ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สำนักงานเพื่อการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
  • 2560 - 2563 กรรมการ บริษัท ดับบลิวเอชเอ อินดัสเตรียลดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)
  • 2559 - 2560 อนุกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปเศรษฐกิจ (ด้านอุตสาหกรรมและบริการ) (สปท.) ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (ด้านพลังงาน) (สปท.)
  • 2558 - 2559 สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.)
  • 2556 - 2557 ประธานกรรมการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
ความเชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการความเสี่ยง
  • ในฐานะอดีตผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) แสดงให้เห็นถึงความชำนาญในการจัดการความเสี่ยงอย่างเชี่ยวชาญ บทบาทผู้นำอันสำคัญนี้ รวมถึงความสามารถในการไตร่ตรองและดำเนินกลยุทธ์การบรรเทาความเสี่ยงอย่างครอบคลุม แก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและจัดทำแนวปฏิบัติการ สะท้อนถึงความสามารถอันยอดเยี่ยมในการจัดการความเสี่ยงที่หลากหลาย เสริมสร้างความพร้อมในการรับมือกับความเปลี่ยนแปลงและเติบโตอย่างยั่งยืนในภาคอุตสาหกรรม